วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 11

       อาจารย์ได้เปิดคลิปวีดีโอการสอนใช้เครื่องมือ illustrator และแนะนำมให้เข้าไปดูตัวอย่างงานใน youtube  illustrator tutorial และดาว์โหลดเก็บไว้เพื่อศึกษา 




วันที่ 7 ธันวาคม 2557 (สอบ FINAL PROJECT) ทุกอย่างต้องหร้อม
ทำสมุด ISSUU 

การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 10


        อาจารย์ได้แนะนำใช้ Font สีของ  Font  ควรจะเป็นแนวใหนและแบบใหนถึงจะถูกต้อง และได้สอนการทำ Pattern ต่างๆเพื่อเป็นแนวทางเอาไปใช้กับบรรจุภัณฑ์ของแต่ละคน
       อาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์ให้เข้าไปดูตัวอย่างผลงาน เป็นกรณีศึกษา




สอบวันที่ 30 พฤษจิกายน 2557
วันที่ 7 ธันวาคม 2557 (สอบ FINAL PROJECT)



วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2557

การเรียนการสอน  สัปดาห์ที่ 8

สอบกลางภาคเรียน และจัดแสดงงานของแต่ละกลุ่ม 

ได้สอบเก้บคะแนนใน Claroline จำนวน 30 เป็นเวลา 15 นาที 




การจัดแสดงงานของแต่ละกลุ่ม


ภาพที่ 1 การจัดแสดงงาน 


ภาพที่ 2 การจัดแสดงงาน 


สอบการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โจทย์คือ ออกแบบผลิตภัณฑ์ บ้านคุกกี้



วันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 7

เริ่มการแปลสรุปข่าวคนสุดท้าย อาจารย์ได้แนะนำหลักการทำงานของนักออกแบบและการติดต่อประสานงานกับลูกค้าและโรงพิมพ์ และได้สอนการทำงานของ โปรแกรม Sketch up และสอนการขึ้นโครงร่างของบรรจุภัณฑ์


โปรแกรม Sketch up 


อาจารย์ได้ไห้เข้าไปศึกษา google warehouse เพราะโจทย์ในการสอบอยู่ในนั้น จะสอบในวันที่ 19 ตุลาคม 





อาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม งดการเรียนการสอน อาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม สอบ

วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557

การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 6

ได้เริ่มต้นด้วยการแปลสรุปข่าว 3คน การแปลสรุปข่าวครบทุกคนแล้ว
        อาจารย์ได้ยกตัวอย่างการออกแบบ Packaging และให้คำแนะนำและติชมว่าในองค์ประกอบนั้นควรมีอะไรบ้างและสิ่งใหนที่จำเป็นต่อการออกแบบ  อาจารย์ได้สอนการขึ้นกล่องโดยโปรแกรม Sketch up
โดยได้สอนการกะขนาดของกล่องและตัวผลิตภัณฑ์ควรจะมีขนาดเท่าไรและสอนดารเอารูปไส่ในแต่ละด้านของกล่อง 
     อาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์ http://www.packmage.com/ เป็นเว็บไซต์ที่จำลองกล่องโดยจะเคลื่อนใหวในการผับกล่อง


                                             http://www.packmage.com/
   

อาจารย์ให้กับไปดูและศึกษาการขึ้นกล้องขึ้นโครงร่าง ของโปรแกรม Sketch up ใน youtube โดยให้ค้นหาคำว่า 3D OBJECT


                           http://www.youtube.com/watch?v=hteCj-F2Z_Y

การบ้าน
-ขึ้นกล่อง Packaging  ของแต่ละคนโดยใช้โปร แกรม  Sketch up
-ตรวจ  Artwork 
วันที่19 สอบ



การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 5

  ได้เริ่มโดยการแปลสรุปข่าว 3 คน จากนั้นอาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์ที่ให้
โหลด Font free และอาจารย์ได้แนะนำ Font ในการนำมาใช้กับตัวงาน



                                                http://www.f0nt.com/


      อาจารย์ได้แนะนำวิธีการทำงานเป็นขั้นตอนในการส่งไฟล์งานให้กับลูกค้าเพื่อสะดวกในการอธิบายและเข้าใจง่ายมากขึ้น แยกเลเยอร์เป็นกลุ่มๆ เปลื่ยนชื่อเลเยอร์ให้สะดวกแก้การแก้ไขและสร้างแบบบรรุจุภัณฑ์ 3D ให้ลูกค้าได้เห็นบรรจุภัณฑ์ได้ทุกมุม ทำให้เห็นผลงานที่แก้ไขจากบรรจุภัณฑ์แบบเดิมและสะดวกในตัดสินว่าจะแก้ไขหรือไม่

การบ้าน
- ตรวจ Artwork ทั้งหมด

วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557


การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 4


         วันที่ 14 กันยายน 2557 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร
เริ่มโดยการแปลสรุปข่าว 3 คน จากนั้นกลุ่ม UNITY GROUP ทำการพีเซ้นสรุป ส1 การสืบค้นการ ได้คำติชมและคำแนะนำแนวทางการศึกษาหาข้อมูลจาก อาจารย์
อาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์วิธีสร้างบรรจุภัณฑ์ http://www.templatemaker.nl/ และได้แนะนำเว็ปไซต์ที่สร้าง Pattern (กล่อง)


ที่มา : http://www.templatemaker.nl/


การบ้าน
- พัฒนากล่องภายนอก (อย่างน้อยทำ Pattern ที่ออกแบบมา 2 แบบ
- ข้อมูลต่างๆของ Pattern (บอกขนาดทั้งหมด)
- รายงาน ขั้นตอนการผลิต (บอกส่วนประสมในการผลิต)

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557

แปลสรุปข่าวสาร


 1Tay clean and pure




       My personal design aesthetic revolves around textures. I've always been a hands-on kind of designer and find inspiration whether I'm walking down the street in my own neighborhood or exploring other countries. My friends laugh at me because by the end of the day, my knapsack is full of all sorts of junk: kitschy drugstore purchases, flyers, interesting plants I might have seen on the sidewalk, etc. In concepting the packaging for TAY, I wanted to be sure that anyone who picks up and feels one of my bottles instantly knows that they should expect something special inside.

      After some experimentation, it quickly became clear to me that bamboo was the perfect match for the collection. Bamboo is known for having inherent anti-microbial properties. This fit the packaging standards for a personal care product that is likely come into contact with water. The bamboo containers are also well-suited to protect the skincare formulas that I created, which use rare, high-grade ingredients. Because of the quality of the essential oils, they tend to be more susceptible to sun damage. The bamboo sheath provides a protective layer to house the formulas in a "dark" environment. It is also important to me that bamboo is a renewable resource. When I traveled to Asia, it was amazing to see massive bamboo forests that could be harvested almost on a daily basis.

แปล
        ออกแบบที่สวยงามส่วนบุคคลของฉันหมุนรอบพื้นผิว ฉันได้รับเสมอมือบนชนิดของนักออกแบบและหาแรงบันดาลใจว่าฉันกำลังเดินไปตามถนนในเขตของตัวเองหรือการสำรวจประเทศอื่น ๆ เพื่อนของฉันหัวเราะเยาะฉันเพราะตอนท้ายของวันที่เป้ของฉันเต็มไปด้วยทุกประเภทของขยะ: ซื้อที่ร้านขายยาที่ไร้ค่า, ใบปลิว, พืชที่น่าสนใจฉันอาจจะได้เห็นบนทางเท้า ฯลฯ ใน concepting บรรจุภัณฑ์สำหรับ TAY ฉันต้องการ เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคนที่หยิบขึ้นมาและรู้สึกหนึ่งของขวดของฉันทันทีที่รู้ว่าพวกเขาควรจะคาดหวังสิ่งที่พิเศษภายใน 
        หลังจากการทดลองบางอย่างมันได้อย่างรวดเร็วกลายเป็นที่ชัดเจนกับผมไม้ไผ่ที่เป็นคู่ที่สมบูรณ์แบบสำหรับการจัดเก็บ ไม้ไผ่เป็นที่รู้จักกันสำหรับการมีคุณสมบัติต่อต้านจุลินทรีย์ธรรมชาติ นี้เหมาะสมกับมาตรฐานบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลที่มีแนวโน้มที่จะเข้ามาติดต่อกับน้ำภาชนะไม้ไผ่ยังดีเหมาะที่จะปกป้องสูตรผลิตภัณฑ์ดูแลผิวที่ฉันสร้างซึ่งใช้หายากส่วนผสมคุณภาพสูง เพราะคุณภาพของน้ำมันหอมระเหยที่พวกเขามีแนวโน้มที่จะอ่อนแอมากขึ้นเพื่อให้เกิดความเสียหายดวงอาทิตย์ ปลอกไม้ไผ่ให้ชั้นป้องกันที่บ้านสูตรใน "มืด" สภาพแวดล้อม นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งสำคัญที่จะฉันไม้ไผ่ที่เป็นทรัพยากรหมุนเวียน เมื่อตอนที่ผมเดินทางไปยังภูมิภาคเอเชียมันเป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจที่จะเห็นป่าไผ่ขนาดใหญ่ที่อาจจะเก็บเกี่ยวเกือบทุกวัน 




       The process was really a test of innovation and endurance. I believe it's the first-of-its-kind and it took many trials to get it to the final format. 70% of the bottle is worked by hand and no two bottles look exactly the same. The front and back labels are etched on the bamboo bottles themselves and use no ink in the process. The only ink that's used is on the underside, where product information and the UPC code is printed on a stone-paper medium. I had to give in a little, because I figured that no checkout scanner would be able to detect an etched UPC code.

Sarah is an award-winning creative director and founder of TAY.

แปล
       กระบวนการเป็นจริงการทดสอบของนวัตกรรมและความอดทน ผมเชื่อว่ามันเป็นครั้งแรกของของมันและจะเอาการทดลองที่จะได้รับเป็นรูปแบบสุดท้าย 70% ของขวดที่มีการทำงานด้วยมือและไม่มีสองขวดมีลักษณะเหมือนกันป้ายด้านหน้าและด้านหลังมีรอยสลักบนขวดไม้ไผ่ตัวเองและใช้หมึกที่ไม่มีในกระบวนการหมึกเท่านั้นที่ใช้เป็นด้านล่างที่ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และรหัส UPC จะพิมพ์อยู่บนหินกลางกระดาษ ฉันมีให้น้อยเพราะฉันคิดว่าไม่มีสแกนเนอร์เช็คเอาท์จะสามารถตรวจสอบรหัส UPC สลัก

สรุป 
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรโดยตัวครีมได้ส่วนผสมจากผลไม้และพืชและตัวบรรจุภัณฑ์ทำจากไม้ไผ่แบบเรียบง่าย หลังจากการทดลองเป็นที่ชัดเจนไม่ไผ่่รับแรงกระแทกได้ดีอย่างมบูรณ์แบบและสำหรับการจัดเก็บ ไม้ไผ่เป็นที่รู้จักกันมีคุณสมบัติต่อต้านจุลินทรีย์ธรรมชาติ นี้เหมาะสมกับมาตรฐานบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ ส่วนของการออกแบบก้ได้ไช้เลเซอร์แกะเป็นตัวอัษร

วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2557

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3


วันที่ 7 กันยายน 2557 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตรเริ่มต้นโดยการแปลสรุปข่าว 3 คนเรียบร้อย
       จากนั้นก็ได้ทำการ Present การสืบค้นข้อมูลผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่มที่ได้หามาโดยเป็นผลิตภัณฑ์ของ จังหวัด ชัยนาถทั้งหมด โดยแต่ละกลุ่มได้เสนอขั้นตอนในการทำ ส.1 (สืบค้น) โดยเสนอผ่านทาง Moodboard  อาจารย์ได้ทำการสุ่มกลุ่มเพื่อทำการนำเสนอและได้ให้คำแนะนำติดชมและบอกถึงปัญหาให้แต่ละกลุ่มเข้าใจ
       กลุ่ม UNITY (กลุ่ม 3) ได้นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ซ้ำกันกับกลุ่มอื่นจึงต้องหาผลิตภัณฑ์มาใหม่ เสร็จจากการนำเสนออาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำและอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจในหลักของการทำงานที่ถูกต้อง


การบ้าน
-เข้าไปตอบแบบสอบถามใน http://clarolinethai.info/ การอภิปายในรายวิชา ภายใน 13 กันยายน 2557


ภาพที่1 การอภิปรายวิชา 



วันเสาร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2557


การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง (Product & Package Visual analysis)

การออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท

การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและการมอง
(Product and Package Visual analysis)


    ภาพที่ 1 ภาพด้านหน้าและของสินค้าแชมพูสมุนไพร ดอกอัญชันผสมว่านห่างจระเข้
                                         ที่มา: แม็ก ตรีฉัตร Unity Group 2557.

1. ข้อมูลที่มีปรากฎบนตัวสินค้า
-ชื่อสินค้า บ้านท่าทราย
-ประเภทสินค้า : ประเภทสมุนไพรที่ใช้สำหรับบำรุงเส้นผม
-สถานะผลิตภัณฑ์ : ของเหลว
-สีของผลิตภัณฑ์ : สีบนตัวสินค้าจะมีสีม่วงเข้ม ส่วนสีของเนื้อครีมนวดจะมีสีม่วงอ่อน
-ส่วนประกอบ : ดอกอัญชัน และว่านหางจระเข้ / BUTTERFLY , ALOE VELA
-วิธีใช้ : ใช้หลังจากใช้แชมพูสระผม บีบแชมพูสระผมแล่้วสระแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด
-ขนาด : 3x7.5 นิ้ว
-ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านท่าทราย เลขที่ 169 หมู่ 1 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 17150เบอร์โทรศัพท์ : 056-407500 , 08-1928-3181 , 056-401004 , 08-1887-2459ปริมาณสุทธิ : 300 
-มิลลิลิตรราคาขวดละ 50 บาท

2. โครงสร้างหลักตัวผลิตภัณฑ์
-สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ :แชมพูขวดสีขาว
-ใช้เทคนิค / วิธีการ / การบรรจุสินค้า : ขวดทรงสูงมีฝาเปิดปิดสะดวกในการใช้
-การขึ้นรูปทรง : ทรงสูงมีฝาปิด
-Font :
-ระบบการพิมพ์ที่ใช้ : ซิลค์สกรีน
-สี / จำนวนสีที่พิมพ์ : ม่วง 

3. การออกแบบกราฟิก
-ภาพประกอบ: ดอกอัญชัน ว่านหางจระเข้
-ข้อความ: บ้านท่าทราย แชมพูสมุนไพร ดอกอัญชันผสมว่านหางจระเข้
-โลโก้ชื่อสินค้า:
-โลโก้ชื่อผู้ผลิต: บ้านท่าทราย


                        ภาพที่ 2 ภาพแสดงการศึกษาวิเคราะห์ของสินค้าและบรรจุภัณฑ์
                                                ที่มา: แม็ก ตรีฉัตร Unity Group 2557.

หมายเลข 1 คือ ฝาสำหรับเปิดปิด
หมายเลข 2 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ในที่นี้คือวัสดุขวดพลาสติก PE ทึบแสง
หมายเลข 3 คือ โลโก้ชื่อผู้ผลิต
หมายเลข 4 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า (Logotype)
หมายเลข 5 คือ ข้อความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
หมายเลข 6 คือ ภาพประกอบ ดอกอัญชัน
หมายเลข 7 คือ ข้อมูลวิธีการใช้ของสินค้า
หมายเลข 8 คือ ส่วนผสม
หมายเลข 9 คือ ข้อมูลที่อยู่ของผู้ผลิตและปริมาตรสุทธิของสินค้า


ภาพที่ 3 แบบร่างการศึกษาวิเคราะห์    
ที่มา: แม็ก ตรีฉัตร Unity Group 2557.



ข้อเสียของผลิตภัณฑ์
1. ตราสัญลักษณ์ดูไม่โดดเด่น มีแค่ลายเส้น
2. ด้านหน้าและด้านหลัง ดูโล่งไม่มีสีสันไม่ดึงดูดสายตา
3. ไม่บ่งบอก สรรพคุณของสินค้า

 
ความต้องการของผู้ประกอบการ
1.อยากเปล่ียนขวดแชมพูให้เป็นขวดแบบกด
2.ต้องการบ่งบอกสรรพคุณของสินค้า
3.เพิ่มลวดลายให้กับขวด

ตัวอย่างสินค้าเปรียบเทียบที่จำหน่ายตามท้องตลาด

                               
                                       ภาพที่ 4 Butterfly Pea Extract, Shampoo



                                             ภาพที่ 5 Herbel Shampoo
                  http://www.thanyaporn.com/products.asp?page=2&ParentID=225
                              


วันพุธที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 31 สิงหาคม 2557 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร

       
         การนำเสนอแปลสรุปข่าว 3 คน โดยการสรุปข่าวนั้นควรอ่านให้เข้าใจก่อนจึงจะยืบยกมานำแปลเพื่อนำเสนอต่อมาอาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์ http://www.thedieline.com/ เป็นเว็บเกี่ยวกับ Packaging Design โดยมีผลงานให้ติดตามจำนวนมาก อาจารย์ได้ชักชวนให้นำผลงานมาโชว์ลงในเว็บไซต์ http://www.thedieline.com/ นี้เพื่อเป็นการเปิดโอกาสในการแสดงผลงาน อาจารย์ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องของบรรจุภัณฑ์ที่ได้นำมาเสนอ และอธิบายเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ของอาจารย์ ได้ออกไปลงพื้นที่จริง ซึ่งงานที่จะนำไปเสนอลูกค้านั้นจะต้องมีบรรจุภัณฑ์ที่เป็น 3D ออกมาให้ลูกค้าได้เห็นภาพรวมของสินค้า และอธิบายขั้นตอนการผลิตบรรจุภัณฑ์ให้ลูกค้าได้เข้าใจในการทำงาน 


ภาพที่ 1 http://www.thedieline.com/





            อาจารย์ให้ไปศึกษาสินค้า 1 อย่าง ที่เแป็นผลิตภัณฑ์ OTOP โดยให้ศึกษาสินค้าชิ้นนั้น หาผู้ประกอบการ มองหาถึงปัญหาหรือข้อบกพร่องของสินค้าวิเคราะห์ถึงสินค้าตัวนั้นว่าขาดอะไรบ้าง มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง และระบุรายละเอียดต่างๆ ขนาดเท่าไร ใช้เทคนิคการพิมพ์แบบไหน มี อ.ย.รึไม่ ใช้วัสดุทำจากอะไรให้ระบุอย่างละเอียดที่สุด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสอบ ส.1ซึ่งอาจารย์ได้แชร์ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาไว้ให้ใน Google Drive



                                              ภาพที่ 3 Google Drive



                                          ภาพที่ 4 http://www.clarolinethai.info/

       - เป็นการทำบททดสอบก่อนเรียนจำนวน 40 ข้อ ก่อนที่จะเข้าการเรียนการสอนแบบจริงจัง เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ทางด้าน การออกแบบ  Packaging Design
ทำผ่านเว็บไซต์ http://www.clarolinethai.info/





สรุปการบ้าน
- วันที่ 3-7 กันยายน 2557 มีงาน OTOP ที่เมืองทองฯ
- สัปดาห์ที่ 8 สอบนำเสนองานกลุ่ม มี Moodboard
- ศึกษาข้อมูลสินค้าสำหรับ ส.1 สำหรับทำ Moodboard ขนาด A3 เพื่อนำเสนอในสัปดาห์หน้า
เริ่ม 18:30 น.


วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ (Packaging)


           การบรรจุภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปัจจุบันที่การผลิตสินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสำคัญกับผู้บริโภค (Consumer Oriented) และจะได้เห็นว่าการบรรจุภัณฑ์มีบทบาทมากขึ้นเพราะลำพังตัวสินค้าเองไม่มีนวัตกรรม (Innvoation) หรือการพัฒนาอะไรใหม่อีกแล้ว ฉีกแนวไม่ออกเพราะได้มีการวิจัยพัฒนากันมานานจนถึงขั้นสุดยอดแล้ว จึงต้องมาเน้นกันที่บรรจุภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ (Packaging) บรรจุภัณฑ์กับหีบห่อ (Package) ถือว่าเป็นคำคำเดียวกัน ทั้งนี้สุดแล้วแต่ผู้ใดประสงค์หรือชอบที่จะใช้คำใด

ความหมายของการบรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อ (Packaging)

          1. Packaging หมายถึง งานเทคนิคที่ต้องอาศัยความชำนาญ ประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ ในอันที่จะออกแบบและผลิตหีบห่อให้มีความเหมาะสมกับสินค้าที่ผลิตขึ้นมา ให้ความคุ้มครองสินค้า ห่อหุ้มสินค้าตลอดจนประโยชน์ใช้สอย อาทิเช่น ความสะดวกสบายในการหอบหิ้ว พกพาหรือการใช้ เป็นต้น
          2. Packaging หมายถึง กลุ่มของกิจกรรมในการวางแผนเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งหุ้มห่อสินค้าบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับฉลาก (Label) และตรายี่ห้อ (Brand name)
          3. Packaging หมายถึง ผลรวมของศาสตร์ (Science) ศิลป์ (Art) และเทคโนโลยีของการออกแบบ การผลิตบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้า เพื่อการขนส่งและการขายโดยเสียค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม
          4. Packaging หมายถึง การใช้เทคโนโลยีและเศรษฐศาสตร์เพื่อหาวิธีการรักษาสภาพเดิมของสินค้าจนกว่าจะถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อให้ยอดขายมากที่สุดและต้นทุนต่ำสุด
          5. Packaging หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและผลิตรูปร่างหน้าตาของภาชนะบรรจุ สิ่งห่อหุ้มตัวผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์
          6. Packaging เป็นทั้งศิลปะและวิทยาศาสตร์ ซึ่งถูกมองในหลายแง่โดยบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตสินค้า กล่าวคือ ฝ่ายเทคนิคจะคิดถึงปฏิกิริยาระหว่างภาชนะบรรจุกับผลิตภัณฑ์และสิ่งแวดล้อม ฝ่ายผลิตจะพิจารณาต้นทุนและประสิทธิภาพของระบบการบรรจุ ฝ่ายจัดซื้อจะคำนึงถึงต้นทุนของวัสดุทางการบรรจุ และฝ่ายขายจะเน้นถึงรูปแบบและสีสันที่สะดุดตา ซึ่งจะช่วยในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ ด้วยเหตุนี้ Packaging ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมจะเกิดขึ้นได้จากการประนีประนอมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ภาชนะบรรจุซึ่งมีน้ำหนักเบาและราคาต้นทุนต่ำ แต่ในขณะเดียวกันมีรูปแบบสวยงาม และให้ความคุ้มครองอย่างเพียงพอแก่ผลิตภัณฑ์ภายในได้
          7. Packaging หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดในขบวนการทางตลาดที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบสร้างสรรค์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์
          8. Packaging หมายถึง การนำเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะหุ้มห่อสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยมีความแข็งแรง สวยงาม ได้สัดส่วนที่ถูกต้อง สร้างภาพพจน์ที่ดี มีภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทำให้เกิดผลความพึงพอใจจากผู้ซื้อสินค้า

การเรียนการสอนครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2557


 24 สิงหาคม 2557 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร (http://prachid.com/,http://arti3314.blogspot.com/,
ได้อธิบายรายละเอียดและเว็บไซต์แหล่งข้อมูลที่จำเป็นในการศึกษาวิชาการแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้

          1. PackagingDesignCourse
           http://packagingdesigncourse.blogspot.com/

           เว็บบล็อกสนับสนุนการเรียนรู้วิชาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดย อาจารย์ผู้สอน
ผศ.ประชิด ทิณบุตร ใช้เพื่อศึกษารูปแบบการจัดหน้าเว็บบล็อก โดยนำรูปแบบมาปรับใช้กับเว็บบล็อกของตนเอง

           เว็บบล็อคสนับสนุนการเรียนรู้ในวิชาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยอาจารย์ ประชิด ทิณบุตร ใช้ในการศึกษาในรูปแบบการจัดหน้าเว็บบล็อกโดยนำรูปแบบการออกแบบมาปรับใช้กับเว็บบล็อกของตนเอง

              
                                  ที่ 1 เว็บบล๊อค วิชาออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์
                                            ที่มา : http://arti3314.blogspot.com/

                เว็บบล็อกสนับสนุนการเรียนรู้วิชา Graphic design for packaging อีกเว็บหนึ่ง ถือเป็นเว็บบล็อกหลักที่ใช้ในการศึกษาวิชาการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ใช้สำหรับติดตามข่าวสารการบ้านและกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิชานี้ ซึ่งการบ้านในสัปดาห์นี้ อาจารย์ผู้สอนได้ทำการโพสต์ไว้ให้แล้ว
              นอกจากนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4 คน เพื่อให้รู้จักการทำงานร่วมกันในวิชานี้ โดยให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่มและแชร์ให้กับอาจารย์ผู้สอน เพื่อเป็นการสะดวกในการตรวจงานในครั้งต่อไป

การบ้าน(เพิ่มเติม)
          1. ตีความคำว่า "สินค้าประเภทสุขภาพและความงาม" โดยให้แต่ละกลุ่มเลือกสินค้าประเภท health & beauty
มาคนละ 1 อย่าง ไม่ให้ซ้ำกัน โดยต้องมีแหล่งที่มาของผู้ประกอบการที่ชัดเจน สามารถ search "วิสาหกิจชุมชน"ในการเลือกสินค้าที่ต้องการนำมาพัฒนา
          2. สิ่งที่ต้องเตรียมสำหรับการเรียนในสัปดาห์หน้า มีดังนี้
             - กระดาษ A4 ออกแบบหัวกรดาษ ปริ้นและทำเป็นเล่มให้เรียบร้อย
             - ดินสอ 2B สำหรับ sketch
             - ไม่บรรทัด
             -ไม่บรรทัด
             - กระดาษกราฟ
             - กล้อง (ถ้ามี)
          3. รายงานข่าวครั้งละ 3 คน เริ่มสัปดาห์หน้า
          4. สร้างและปรับแต่งเว็บบล็อก โดยสามารถดูรูปแบบได้จาก

       http://packagingdesigncourse.blogspot.com/


สอบ pre-test สัปดาห์หน้า